พุยพุย

วันอังคารที่ 17 มกราคม พ.ศ. 2560


                     บันทึกอนุทิน
                     ครั้งที่  2
                     วัน พุธ ที่ 18 เดือน มกราคม 2560

                      
            ความรู้ที่ได้รับ

ประเภทของเด็กที่มีความต้องการพิเศษ
แบ่งได้เป็น 2 กลุ่มใหญ่ ๆ คือ
1. กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความสามารถสูง
มีความเป็นเลิศทางสติปัญญา
เรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า เด็กปัญญาเลิศ
ลักษณะของเด็กปัญญาเลิศ
พัฒนาการทางร่างกายและจิตใจสูงกว่าเด็กในวัยเดียวกัน
เรียนรู้สิ่งต่างๆ ได้อย่างรวดเร็วและง่ายดาย
อยากรู้อยากเห็นอย่างจริงจัง ชอบซักถาม
มีเหตุผลในการแก้ปัญหา  การใช้สามัญสำนึก
จดจำได้รวดเร็วและแม่นยำ
เด็กฉลาด
ตอบคำถาม              
สนใจเรื่องที่ครูสอน
ชอบอยู่กับเด็กอายุเท่ากัน 
ความจำดี
เรียนรู้ง่ายและเร็ว 
เป็นผู้ฟังที่ดี 
พอใจในผลงานของตน


Gifted 

                 ตั้งคำถาม 
                    เรียนรู้สิ่งที่สนใจ
                    ชอบอยู่กับผู้ใหญ่หรือเด็กที่โตกว่า
                    อยากรู้อยากเห็น ชอบคาดคะเน
                    เบื่อง่าย  
                    ชอบเล่า 

                    ติเตียนผลงานของตน 



กลุ่มเด็กที่มีลักษณะทางความบกพร่อง
1.               เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
2.               เด็กที่บกพร่องทางการได้ยิน
3.               เด็กที่บกพร่องทางการเห็น
4.               เด็กที่บกพร่องทางร่างกายและสุขภาพ
5.                เด็กที่บกพร่องทางการพูดและภาษา
6.                เด็กที่บกพร่องทางพฤติกรรมและอารมณ์
7.                เด็กที่บกพร่องทางการเรียนรู้
8.                เด็กออทิสติก
9.                เด็กพิการซ้อน

 
 . เด็กที่บกพร่องทางสติปัญญา
 
(Children with Intellectual Disabilities)
หมายถึง เด็กที่มีระดับสติปัญญา
หรือเชาว์ปัญญาต่ำกว่าเกณฑ์เฉลี่ย
เมื่อเทียบเด็กในระดับอายุเดียวกัน
มี 2 กลุ่ม คือ เด็กเรียนช้า และเด็กปัญญาอ่อน
เด็กเรียนช้า
            - สามารถเรียนในชั้นเรียนปกติได้
            - เด็กที่มีความสามารถในการเรียนล่าช้ากว่าเด็กปกติ
            - ขาดทักษะในการเรียนรู้
            - มีความบกพร่องทางสติปัญญาเพียงเล็กน้อย
            - มีระดับสติปัญญา (IQ) ประมาณ 71-90
สาเหตุของการเรียนช้า
                  ภายนอก
                  ภายใน
1.            ภายนอก
2.            เศรษฐกิจของครอบครัว
3.            การสร้างเสริมประสบการณ์ให้แก่เด็ก
4.            สภาวะทางด้านอารมณ์ของคนในครอบครัว
5.            การเข้าเรียนไม่สม่ำเสมอ
6.            วิธีการสอนไม่มีประสิทธิภาพ


ภายใน
                  พัฒนาการช้า
                  การเจ็บป่วย

ระดับสติปัญญาต่ำ
            - พัฒนาการล่าช้าไม่เหมาะสมกับวัย
            - มีพฤติกรรมการปรับตนบกพร่อง
            - อาการแสดงก่อนอายุ 18

เด็กปัญญาอ่อน
แบ่งตามระดับสติปัญญา (IQ) ได้ 4 กลุ่ม
1. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนักมาก IQ ต่ำกว่า 20
                        - ไม่สามารถเรียนรู้ทักษะด้านต่าง ๆ ได้เลย
                        - ต้องการเฉพาะการดูแลรักษาพยาบาลเท่านั้น
2. เด็กปัญญาอ่อนขนาดหนัก IQ 20-34
                  ไม่สามารถเรียนได้ ต้องการเฉพาะการฝึกหัดการช่วยเหลือตัวเองในกิจวัตรประจำวันเบื้องต้นง่าย ๆ
กลุ่มนี้เรียกโดยทั่วไปว่า C.M.R (Custodial Mental Retardation
3. เด็กปัญญาอ่อนขนาดปานกลาง IQ 35-49
            - พอที่จะฝึกอบรมและเรียนทักษะเบื้องต้นง่าย ๆ ได้
            - สามารถฝึกอาชีพ หรือทำงานง่าย ๆ ที่ไม่ต้องใช้ความละเอียดลออได้
            - เรียกโดยทั่วไปว่า T.M.R (Trainable Mentally Retarded)
4. เด็กปัญญาอ่อนขนาดน้อย IQ 50-70
                  เรียนในระดับประถมศึกษาได้
                  สามารถฝึกอาชีพและงานง่าย ๆ ได้
                  เรียกโดยทั่ว ๆ ไปว่า E.M.R (Educable Mentally Retarded) 

การนำไปประยุกต์ใช้
สมารถนำไปใช้ได้จริงๆว่าเป็นคุณครูทำอย่างไรให้เหมาะสมกับการเกิดสถานการณ์ต่างๆขึ้นจริง

การประเมิน
ประเมินอาจารย์ - สอนสนุกมีการยกตัวอย่างชัดเจน
ประเมินเพื่อน   -  เพื่อนทุกคนตั้งใจเรียน
ประเมินตัวเอง -  ตั้งใจเรียนตั้งใจจดสไลด์ที่อาจารย์สอน

ภาพกิจกรรม










ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น